ขับเคลื่อนโดย Blogger.
RSS

About




 เมื่อยุคโลกาภิวัฒน์และนวัตกรรมทางการศึกษากำลังเข้ามามีบทบาทครูเลยจะต้องรู้จักสร้างประดิษฐ์คิดค้นและต้องตามให้ทันกับนวัตกรรมที่ เปลี่ยนแปลงโลกอย่างรวดเร็ว ครูจึงต้องกระตุ้นใช้เทคโนโลยีมาใช้ในการสอน ซึ่งประกอบด้วย online discussion (อภิปรายออนไลน์) podcasting (โปรแกรมเสียง) blogging (บล็อก) 

 
การบูรณาการเทคโนโลยีในการสอน
        เป็นการบูรณาการเนื้อหาที่จะสอนเช่น case study (กรณีศึกษา) portfolios(แฟ้ม สะสมผลงาน)นำมาบูรณาการใช้กับเทคโนโลยี   ซึ่ง มันก็ช่วยให้ครูได้เห็นความคิดใหม่ๆ และสามารถขยายความรู้ในห้องเรียนใหม่ที่มีความแตกต่างที่จัดเวลาใดก็ได้และ เนื้อหาก็ไม่จำกัดและได้หลักสูตรที่ดีขึ้น  สิ่งที่ครูควรคำนึงเวลาที่นำเทคโนโลยีมาใช้กับการสอนคือ ต้องคำนึงสิ่งที่ครูต้องการวัดนักเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ทั้ง เทคโนโลยีและเนื้อหา ให้ความสำคัญกับจุดประสงค์ กระบวนการ รวมถึงการประเมินผล 

 

 Case Study (กรณีศึกษา)
        เป็นกระบวนการที่ครูและนักเรียนใช้การสนทนากันในสถานการณ์จริง
ขั้นตอนในการทำกรณีศึกษา
1. เตรียมกรณีศึกษาโดยเลือกผู้เรียนภาษาและทบทวนดูหลายๆกรณี
2. เก็บรวบรวมข้อมูล
3. วิเคราะห์ข้อมูล
4. สร้างสถานการณ์โดยมมีผลสะท้อนข้อคิดออกมาและอภิปรายตั้งคำถามเพื่อเป็นประสบการณ์

Blogging(บล็อก)
        งานเขียนที่เกี่ยวกับหรือที่ได้มาจาก case study (กรณีศึกษา) ให้นำมาใส่ในบล็อกทั้งหมด ซึ่งในบล็อกนั้นก็สามารถใส่ ข้อความ กราฟ ไฟล์ pdfรูปภาพและสามารถเชื่อมต่อไปสู่บล็อกอื่นๆอีกด้วย


Podcasting (โปรแกรมเสียง)
        เมื่อนำข้อมูลกรณีศึกษาลงไปในบล็อกแล้วนั้น นักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับโปรแกรมเสียงซึ่งอาจเล่นผ่านคอมพิวเตอร์ผ่าน mp3 ซึ่งโปรแกรมนี้เข้ามาฟังกี่ครั้งก็ได้ทำให้การเรียนรู้เข้มข้นขึ้นสิ่งที่ได้พบในPodcasting ก็จะเป็นคำศัพท์ใหม่ๆ

Creating a wiki
        เอา Podcasting มาไว้ใน wiki นี้แหละ ครูอาจจะแนะนำวิธีการสอนกิจกรรมที่มีในห้องของนักเรียนให้เข้าไปดูที่ website

 
 Online Discussions
        ขั้นตอนนี้จะให้นักเรียนฟังแล้วก็แบ่งปันข้อมูลต่างๆ ให้ข้อเสนอแนะ ซึ่งในการเสนอแนะไม่มีการชมแต่บอกให้ปรับปรุงมากกว่า ซึ่งมันก็จะกลายเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของสาธารณชน

ข้อเสนอแนะ
        เน้นในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในห้องเรียน คือ ต้องมีการเคลื่อนไหว มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อทุกๆคน

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

Asynchronous Tools
Asynchronous tools enable communication and collaboration
over a period of time through a "different time different place" mode. These tools allow people to connect together at each person's own convenience and own schedule. Asynchronous tools are useful for sustaining dialogue and collaboration over a period of time and providing people with resources and information that are instantly accessible, day or night. Asynchronous tools possess the advantage of being able to involve people from multiple time zones. In addition, asynchronous tools are helpful in capturing the history of the interactions of a group, allowing for collective knowledge to be more easily shared and distributed. The primary drawback of asynchronous technologies is that they require some discipline to use when used for ongoing communities of practice (e.g., people typically must take the initiative to "login" to participate) and they may feel "impersonal" to those who prefer higher-touch synchronous technologies.
Synchronous Tool
Synchronous tools enable real-time communication and collaboration in a "same time-different place" mode. These tools allow people to connect at a single point in time, at the same time. Synchronous tools possess the advantage of being able to engage people instantly and at the same point in time. The primary drawback of synchronous tools is that, by definition, they require same-time participation -different time zones and conflicting schedules can create communication challenges. In addition, they tend to be costly and may require significant bandwidth to be efficient.

Referent  By: Julia Ashley , iCohere http://www.asaecenter.org/Resources/articledetail.cfm?itemnumber=13572

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

Tense

Vocabulary about fruits